หมอน รอง เอว นอน. หมอนรองขา สูง. เบาะแผลกดทับ. หมอนลองเข่า. เบาะรองขา เบาะรองนอน เบาะรองแขน เบาะสูงรูปตัว U. Based on human body shape theory, this sponge leg elevator cushion is designed with appropriate semi-circle arc for both front and back pad, so that the patient could place his legs properly. Double soft purified cotton, the cover is thick so that the patients could feel pretty comfortable for placing their legs on it. This elevating pillow is convenient to use, the blue cloth is made of high qualified fabric which makes it washable for both by hand and by washing machine. To make this leg elevator pad be more practical and durable, the sponge is made of medium-solid material, its sponge pore is even and uniformity which makes it having great ductility and flexible tension. To make the elevation pillow looks more beautiful, the zip is designed to be kind of invisible and the cover is changeable, you could take off the covers and clean it up in a cycle ensuring the cleanness. เบาะรองขารักษาแผลกดทับที่ต้นขา หมอนรองขา MYBOW Knee Pillow Leg แผลกดทับ ขาเข้าเฝือก. 1. จัดท่า และพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยทุกๆ 2 ชั่วโมงเป็นอย่างน้อย โดยจัดท่านอนศีรษะสูงไม่เกิน 30 องศา ควรมีหมอนสอดคั่นระหว่างหัวเข่า ตาตุ่มทั้ง 2 ข้าง ขา 2 ข้าง และใช้หมอนรองใต้น่องและขา เพื่อให้เท้าลอยพ้นพื้น. การจัดท่านั่ง ควรนั่งพิงพนักเก้าอี้ หรือพนักรถเข็น และเท้าวางบนที่พักเท้า โดยไม่ให้ส้นเท้าถูกกด หากผู้ป่วยสามารถช่วยตัวเองได้บ้าง ให้มีการขยับหรือยกก้น ทุก 15-30 นาที. 2. เลือกใช้อุปกรณ์ที่ลดแรงกดทับ เช่น ที่นอนลม และห้ามใช้ห่วงยางรองนั่ง หรือหมอนรูปโดนัท เพราะจะทําให้ผิวหนังบริเวณที่รองไม่มีเลือดไปเลี้ยง และเกิดแผลกดทับได้เช่นกัน. 3. เมื่อต้องเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ห้ามใช้การลาก ถู แต่ใช้การยกตัว เพื่อลดการเสียดสีของผิวหนัง ออกกําลังกายเป็นประจํา เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนโลหิตในร่างกาย ทั้งนี้ ห้ามนวดบริเวณปุ่มกระดูก หรือห้ามประคบร้อน. 4. ในกรณีที่ผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองได้ ควรกระตุ้นให้ผู้ป่วยขยับตัวด้วยตนเอง แต่ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ ผู้ดูแลควรช่วยพลิกตัวอย่างน้อยต้องทุก 2 ชั่วโมง และช่วยทํากายภาพบําบัด. 5. ดูแลผิวหนังของผู้ป่วยด้วยการทาโลชั่น เพื่อเพิ่มความชุ่มชื้นให้ผิวหนัง. 6. จัดหาอาหารที่มีประโยชน์ และสารอาหารครบถ้วนให้แก่ผู้ป่วย โดยเน้นกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ อาหารปรุงสุก สะอาด หลีกเลี่ยงอาหารรสเค็มจัด รสเผ็ด และอาหารหมักดองต่างๆ. 7. ใช้แผ่นโฟมทางการแพทย์ปิดผิวหนังบริเวณที่เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ. นอกจากแผลกดทับจะเกิดจากการที่ร่างกายไม่ได้ขยับเป็นเวลานานแล้ว ยังพบการอักเสบของผิวหนังจากการสัมผัสสิ่งขับถ่ายในผู้ป่วยที่นอนติดเตียง และใช้แพมเพิร์ส จึงเกิดการหมักหมมของสิ่งขับถ่ายอย่างอุจจาระ และปัสสาวะ. พบว่าผู้ป่วยกลุ่มนี้ผิวหนังมีการอักเสบและแดง อาจมีการกัดกร่อน หรือเป็นแผลเปิดเลยก็ได้